แผ่นฉนวน (PIR)- Polyisocyanurate (โพลีไอโซไซยานูเรท)
ฉนวนโพลีไอโซไซยานูเรท หรือ PIR คือ
- ปฏิกิริยาการเกิดพีไออาร์
เกิดที่อุณหภูมิสูงกว่าปฏิกิริยาของพียู (PU) จึงมีโครงสร้างโมเลกุลที่แข็งแรง
ทำให้พีไออาร์มีความแข็งแรงกว่าโพลียูรีเท น
(จากรายงานพบว่าต้องใช้อุณหภูมิสูงกว่า 200oC จึงจะสามารถทำลายพันธะเคมีของพีไออาร์ได้
ในขณะที่พียูอาร์ใช้เพียง 100-110 oC)
- พีไออาร์ (PIR) เหมาะใช้กับที่พักอาศัย เพราะมีค่าการเกิดควันน้อยกว่าโพลียูรีเทนโฟม (PU)
โดยพีไออาร์มีค่ากันลามไฟต่ำกว่า 25 แต่ให้ค่าการเกิดควันต่ำกว่า 50
ในขณะที่โพลียูรีเทนโฟมมีค่ากันลามไฟต่ำกว่า 25 และค่าการเกิดควันถึง 150-350
- โพลียูรีเทนโฟม (PU)
มีความยืดหยุ่นและเป็นผงน้อยกว่าแผ่นพีไออาร์ (PIR) ค่าการทนแรงกดต่อความหนาแน่นใกล้เคียงกัน เช่น
แผ่นโพลียูรีเทนหรือแผ่นโพลีไอโซ 2 ปอนด์ จะมีค่าการทนแรงกดต่อความหนาแน่นประมาณ
20 psi และมีค่าความเป็นฉนวนใกล้เคียงกันที่
6.0 ต่อนิ้วโดยเฉลี่ย